รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม

รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม fujifilm อุบลราชธานี | รับจำนำกล้องอุบล | รับจำนำกล้องมือสอง

รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม fujifilm อุบลราชธานี | รับจำนำกล้องอุบล | รับจำนำกล้องมือสอง

หากคุณต้องการจะจำนำกล้อง เรามีบริการรับจำนำกล้อง ให้ราคาสูง ไม่กดราคา ยิ่งมีเยอะยิ่งดี

สนใจจะจำนำ แอดไลน์ @WEBUY  ( มีตัว @ ด้วย )  แนะนำให้ติดต่อช่องทางไลน์ เพื่อให้ทางทีมงานตีราคาได้อย่างแม่นยำครับ

หรือโทร 0642579353    แนะนำให้ติดต่อช่องทางไลน์ เพื่อให้ทางทีมงานตีราคาได้อย่างแม่นยำครับ

รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม

ADD LINE   :   WEBUY ( มีตัว @ ด้วย )

โทร   :    064-2579353     คุณโน๊ต แนะนำช่องทางไลน์ ได้ราคาแม่นยำแน่นอน

รับซื้ออุบล

#รับจำนำกล้อง #รับจำนำกล้องถ่ายรูป #รับจำนำเลนส์ #รับจำนำกล้องมือสอง #รับจำนำกล้อง dslr #รับจำนำกล้อง mirrorless #รับจำนำกล้อง canon #รับจำนำกล้อง Nikon #รับจำนำกล้อง Fujifilm #รับจำนำกล้อง Olympus #รับจำนำกล้อง Sony #รับจำนำกล้องใกล้ฉัน

รับจำนำกล้อง ,รับจำนำกล้องถ่ายรูป ,รับจำนำเลนส์ ,รับจำนำกล้องมือสอง ,รับจำนำกล้อง dslr ,รับจำนำกล้อง mirrorless ,รับจำนำกล้อง canon ,รับจำนำกล้อง Nikon ,รับจำนำกล้อง Fujifilm ,รับจำนำกล้อง Olympus ,รับจำนำกล้อง Sony ,รับจำนำกล้องใกล้ฉัน,รับจำนำกล้องอุบล

รับจำนำกล้องถ่ายรูป | รับจำนำกล้องดิจิติล | รับจำนำกล้อง dslr | รับจำนำกล้อง mirrorless  canon nikon fujifilm sony olympus รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม fujifilm อุบลราชธานี | รับจำนำกล้องอุบล | รับจำนำกล้องมือสอง

กล้องดิจิตอลสำหรับมือใหม่

การเลือกกล้องดิจิตอลสำหรับมือใหม่ควรคำนึงถึงความง่ายในการใช้งานและฟีเจอร์ที่ช่วยให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องสนุก มาดูกันว่ามีกล้องรุ่นไหนที่น่าสนใจบ้าง:

กล้อง DSLR ที่แนะนำ

1. Canon EOS Rebel T7

กล้อง DSLR รุ่นนี้เป็นตัวเลือกยอดนิยมสำหรับมือใหม่ ด้วยการออกแบบที่ใช้งานง่ายและฟีเจอร์พื้นฐานที่ครบครัน เช่น ระบบโฟกัสอัตโนมัติและหน้าจอ LCD ขนาดใหญ่ ช่วยให้คุณเรียนรู้การถ่ายภาพได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีโหมดการถ่ายภาพที่หลากหลาย ทำให้คุณสามารถทดลองถ่ายภาพในสไตล์ต่างๆ ได้อย่างไม่ยากเย็น

  • ความละเอียด: 24.1 ล้านพิกเซล
  • ความไวแสง (ISO): 100-6400 (ขยายได้ถึง 12800)
  • ระบบโฟกัส: 9 จุด
  • การถ่ายวิดีโอ: Full HD 1080p

2. Nikon D3500

Nikon D3500 เป็นอีกหนึ่งกล้อง DSLR ที่เหมาะสำหรับมือใหม่ ด้วยความสามารถในการถ่ายภาพคุณภาพสูงและการใช้งานที่ง่ายดาย มีโหมดแนะนำการถ่ายภาพที่ช่วยให้คุณเข้าใจการตั้งค่ากล้องได้อย่างรวดเร็ว ทำให้คุณสามารถถ่ายภาพที่สวยงามได้ทันที

  • ความละเอียด: 24.2 ล้านพิกเซล
  • ความไวแสง (ISO): 100-25600
  • ระบบโฟกัส: 11 จุด
  • การถ่ายวิดีโอ: Full HD 1080p

กล้อง Mirrorless ที่แนะนำ

1. Sony Alpha a6000

กล้อง Mirrorless รุ่นนี้มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา ทำให้พกพาสะดวก เหมาะสำหรับมือใหม่ที่ต้องการกล้องที่ใช้งานง่ายและมีคุณภาพสูง มีระบบโฟกัสอัตโนมัติที่รวดเร็วและการถ่ายภาพต่อเนื่องสูง เหมาะสำหรับการถ่ายภาพทุกประเภทตั้งแต่ภาพคนจนถึงภาพวิว

  • ความละเอียด: 24.3 ล้านพิกเซล
  • ความไวแสง (ISO): 100-25600
  • ระบบโฟกัส: 179 จุด
  • การถ่ายวิดีโอ: Full HD 1080p

2. Fujifilm X-T200

กล้อง Mirrorless ที่มาพร้อมกับดีไซน์สวยงามและการใช้งานที่ง่ายดาย มีหน้าจอสัมผัสที่หมุนได้ 180 องศา ช่วยให้การถ่ายภาพ Selfie และวิดีโอเป็นเรื่องง่าย นอกจากนี้ยังมีฟิลเตอร์ภาพหลายแบบให้เลือกใช้ ทำให้คุณสามารถสร้างสรรค์ภาพที่มีเอกลักษณ์ได้อย่างง่ายดาย

  • ความละเอียด: 24.2 ล้านพิกเซล
  • ความไวแสง (ISO): 200-12800 (ขยายได้ถึง 51200)
  • ระบบโฟกัส: 425 จุด
  • การถ่ายวิดีโอ: 4K UHD

รับซื้อกล้อง Fujifilm

วิธีเลือกกล้องถ่ายรูปสำหรับมือใหม่

รับจำนำกล้อง ,รับจำนำกล้องถ่ายรูป ,รับจำนำเลนส์ ,รับจำนำกล้องมือสอง ,รับจำนำกล้อง dslr ,รับจำนำกล้อง mirrorless ,รับจำนำกล้อง canon ,รับจำนำกล้อง Nikon ,รับจำนำกล้อง Fujifilm ,รับจำนำกล้อง Olympus ,รับจำนำกล้อง Sony ,รับจำนำกล้องใกล้ฉัน,รับจำนำกล้องอุบล  รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม fujifilm อุบลราชธานี | รับจำนำกล้องอุบล | รับจำนำกล้องมือสอง

การเลือกกล้องถ่ายรูปสำหรับมือใหม่ ควรคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ เพื่อให้คุณได้กล้องที่เหมาะสมกับการใช้งานของคุณมากที่สุด

ฟีเจอร์ที่ควรพิจารณา

ระบบโฟกัสอัตโนมัติ

ระบบโฟกัสอัตโนมัติที่รวดเร็วและแม่นยำเป็นสิ่งสำคัญในการถ่ายภาพ โดยเฉพาะสำหรับมือใหม่ที่ยังไม่คุ้นเคยกับการปรับโฟกัสด้วยตนเอง กล้องที่มีระบบโฟกัสที่ดีจะช่วยให้คุณได้ภาพที่ชัดเจนและคมชัดแม้ในสถานการณ์ที่มีการเคลื่อนไหว

ความละเอียดของภาพ

ความละเอียดสูงช่วยให้ภาพมีรายละเอียดมากขึ้น แต่ก็ไม่ควรเลือกกล้องที่มีความละเอียดสูงเกินไปจนเกินความจำเป็น สำหรับมือใหม่ ความละเอียดที่ 16-24 ล้านพิกเซลถือว่าเพียงพอสำหรับการถ่ายภาพคุณภาพสูงและสามารถปรับแต่งภาพในภายหลังได้ดี

หน้าจอ LCD

หน้าจอที่มีขนาดใหญ่และมีความละเอียดสูงช่วยให้การดูภาพและตั้งค่ากล้องเป็นเรื่องง่าย หน้าจอสัมผัสยังช่วยให้การปรับตั้งค่าต่างๆ เป็นเรื่องง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น

งบประมาณที่เหมาะสม

การกำหนดงบประมาณที่เหมาะสมสำหรับการซื้อกล้องเป็นสิ่งสำคัญ ควรพิจารณากล้องที่มีคุณภาพและฟีเจอร์ที่ต้องการในราคาที่สมเหตุสมผล สำหรับมือใหม่ การเริ่มต้นด้วยกล้องที่มีราคาประมาณ 15,000-30,000 บาทถือว่าเป็นทางเลือกที่ดี

การใช้งานและการดูแลรักษากล้อง

การใช้งานพื้นฐาน

เมื่อได้กล้องที่เหมาะสมแล้ว การเรียนรู้การใช้งานพื้นฐานเป็นสิ่งสำคัญ ควรศึกษาเอกสารคู่มือการใช้งานที่มาพร้อมกับกล้อง และทดลองใช้ฟีเจอร์ต่างๆ เพื่อให้คุ้นเคยกับการตั้งค่าต่างๆ เช่น การปรับ ISO, รูรับแสง, และความเร็วชัตเตอร์

การดูแลรักษากล้อง

การดูแลรักษากล้องให้คงสภาพดีและใช้งานได้นานเป็นสิ่งที่ควรใส่ใจ ควรทำความสะอาดเลนส์และเซนเซอร์อย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสัมผัสเลนส์ด้วยมือเปล่า และเก็บกล้องในที่ที่แห้งและปลอดภัยจากฝุ่นและความชื้น

การเลือกกล้องสำหรับมือใหม่ไม่ใช่เรื่องยาก หากคุณทราบความต้องการและฟีเจอร์ที่สำคัญต่อการถ่ายภาพ การเลือกกล้อง DSLR หรือ Mirrorless ที่แนะนำในบทความนี้จะช่วยให้คุณเริ่มต้นการถ่ายภาพได้อย่างมั่นใจและสนุกกับการถ่ายภาพมากยิ่งขึ้น การลงทุนในกล้องคุณภาพดีจะช่วยให้คุณสามารถพัฒนาฝีมือการถ่ายภาพและสร้างสรรค์ภาพที่สวยงามได้ในอนาคต

รับจำนำกล้อง ,รับจำนำกล้องถ่ายรูป ,รับจำนำเลนส์ ,รับจำนำกล้องมือสอง ,รับจำนำกล้อง dslr ,รับจำนำกล้อง mirrorless ,รับจำนำกล้อง canon ,รับจำนำกล้อง Nikon ,รับจำนำกล้อง Fujifilm ,รับจำนำกล้อง Olympus ,รับจำนำกล้อง Sony ,รับจำนำกล้องใกล้ฉัน,รับจำนำกล้องอุบล

 

ประวัติตำนาน จังหวัดอุบลราชธานี

รับจำนำกล้องฟูจิฟิล์ม fujifilm อุบลราชธานี | รับจำนำกล้องอุบล | รับจำนำกล้องมือสอง

ตำนานเมืองอุบล ได้กล่าวกันถึงการสืบเชื้อสายจากเจ้านครเชียงรุ้ง แสนหวีฟ้า ของเจ้าปางคำ พระบิดา ของเจ้าพระตา เจ้าพระวอ โดยกล่าวถึง ปี พ.ศ.2228 เกิดวิกฤตทางการเมือง ในนครเชียงรุ้ง เนื่องจาก จีนฮ่อหัวขาว หรือฮ่อธงขาว ยกกำลัง เข้าปล้นเมืองเชียงรุ้ง เจ้านครเชียงรุ้ง ได้แก่ เจ้าอินทกุมาร เจ้านางจันทกุมารี เจ้าปางคำ อพยพไพร่พล จากเมืองเชียงรุ้ง มาขอพึ่งพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช แห่งเวียงจันทน์ ซึ่งเป็น พระประยูรญาติ ทางฝ่ายมารดา พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี โปรดให้นำไพร่พลไปตั้งที่ เมืองหนองบัวลุ่มภู เมือง หนองบัวลุ่มภู จึงอยู่ในฐานะ พิเศษ คือไม่ต้อง ส่งส่วย บรรณาการ มีสิทธิสะสม ไพร่พล อย่างเสรีเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับ เวียงจันทน์ มีชื่อว่า “นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน” สันนิษฐานว่า น่าจะมีฐานะ เป็นเมืองลูกหลวง ต่อมา พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ให้ เจ้าอินทกุมาร เสกสมรส กับ พระราชธิดาพระองค์หนึ่ง ได้โอรส คือ เจ้าคำ หรือเจ้าองค์นก ให้เจ้า นางจันทกุมารี เสกสมรสกับ พระอุปยุวราช ได้โอรส คือ เจ้ากิงกีศราช และ เจ้าอินทโสม ซึ่งต่อมา คือบรรพบุรุษของ เจ้านายหลวงพระบาง ส่วนเจ้าปางคำ ให้เสกสมรสกับ พระราชนัดดา ได้โอรส คือ เจ้าพระตา เจ้าพระวอ สันนิษฐานว่า ทั้งสองท่านเป็นเสนาบดี กรุงศรีสัตนาคนหุต ตั้งแต่สมัย พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (ชัยวงค์เว้) พระอัยกาของ พระเจ้า สิริบุญสาร การดำรงฐานะเป็น เจ้านายเชื้อสายพระราชวงศ์ ของพระเจ้าวอ พระเจ้าตา เห็นได้จากหลักฐาน หลายประการ อาทิ การที่หนองบัว ลุ่มภู เป็นเมือง ใหญ่ มีไพร่พลมาก ดังปรากฎเมืองหน้าด่านทั้งสี่ คือ เมืองภูเขียว ภูเวียง เมืองผ้าขาว เมืองพันนา และ การที่ เมืองอุบล ดำรง ฐานะเป็น เจ้าประเทศราชเมื่อเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ของพระมหากษัตริย์ ไทย ต่างจากเมืองเขมร ป่าดงอื่นๆ และเมื่อกำเนิด พ.ร.บ. นามสกุล โปรด พระราชทานนามสกุล “ณ อุบล” อันหมายถึง เชื้อสายเจ้านาย อุบลราชธานี แต่โบราณ เมื่อเจ้านายอุบล ถึงแก่อสัญกรรม ก็มี ประเพณี การทำศพแบบนกหัสดีลิงค์ อันสืบมาจากนครเชียงรุ้ง ในเชียงใหม่ ก็ปรากฎการ ทำศพแบบนกหัสดีลิงค์เช่นเดียวกัน

การตั้งเมืองอุบลราชธานี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช บ้านเมือง ค่อนข้างสงบก็ทรงมี นโยบายที่จะ จัดตั้งเมือง ให้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการรวบรวมไพร่พลให้เป็นปึกแผ่น เพื่อความสงบสุข สมเด็จฯ กรมพระยาดำรง ราชานุภาพได้ทรงกล่าวถึง เรื่องนี้ว่า  “…รัชกาล ที่ 1 ถึงรัชการที่ 3 ให้เจ้าเมืองร้าง เที่ยวเกลี้ยกล่อมหา ผู้คนมาเป็นพลเมือง โดย ไม่ต้องใช้อำนาจ อาจทำได้ด้วยยินดีด้วยกัน ทุกฝ่ายก็สำเร็จ ประโยชน์ ถึงความมุ่งหมาย เจ้าเมืองไหนเกลี้ยกล่อมคนมาได้มาก ก็ได้ทรัพย์เศษส่วน และได้ผู้คนสำหรับอาศัยใช้สอยมากขึ้น ก็เต็มใจขวนขวาย ตั้งบ้านเมือง ฝ่ายราษฎรที่ไปเที่ยวหลบลี้ เดือดร้อนลำบากมากอยู่ เมื่อรู้ว่า บ้านเมืองเรียบร้อยอย่างเดิม ก็ยินดีที่จะกลับมา โดยมาก……” คงจะเป็น เพื่อสนองตอบ พระบรมราโชบาย ในการตั้งเมืองดังกล่าวมาแล้ว และเพื่อความอุดมสมบูรณ์ในการประกอบอาชีพของ ไพร่บ้านพลเมือง “….ในปี พ.ศ.2329 ( จุลศักราช 1148 ปีมะเมีย นพศก) พระประทุมจึงย้ายครอบครัวไพร่พลมาตั้งอยู่ ณ ตำบลแจระแม ตือตำบล ที่ตั้ง อยู่ทาง ทิศเหนือ เมืองอุบลปัจจุบัน…..”

สถาปนาเมืองอุบลราชธานี

สถาปนาเมืองอุบลราชธานี พ.ศ.2335 พระประทุมสุรราช (ท้าวคำผง) ได้พาพรรคพวกไพร่พลตั้งอยู่ที่ ตำบลห้วยแจระแม (บริเวณบ้าน ท่าบ่อ ในปัจจุบัน) ด้วยความปกติสุขเป็นเวลานานหลายปี จนกระทั่ง พ.ศ.2334 (จุลศักราช 1153 ตรีศก) อ้ายเชียงแก้ว ซึ่งตั้งบ้านอยู่ที่ตำบลเขาโองแขวง เมืองโขง คิดการกบฎ พาพรรคพวก ไพร่พลเข้ายึดนครจำปาศักดิ์ พระเจ้าองค์หลวง (ไชยกุมาร) เจ้าเมืองซึ่งกำลังป่วยอยู่ก็มี อาการป่วยทรุดหนัก และถึงแก่พิราลัย อ้ายเชียงแก้วจึงยึดเมือง นครจำปาศักดิ์ไว้ได้ ความทราบ ถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) เมื่อครั้งเป็น พระพรหม ยกกระบัตร ยกกองทัพเมืองนครราชสีมามาปราบกบฎอ้ายเชียงแก้ว อย่างไรก็ดีขณะที่กองทัพนครราชสีมายกมาไม่ถึงนั้น พระประทุมสุรราช (ท้าวคำผง) และท้าวฝ่ายหน้า ผู้น้อง ที่ตั้งอยู่บ้านสิงห์ท่า (เมืองยโสธร) ได้ยกกำลังไปรบอ้ายเชียงแก้วก่อน ทั้งสองฝ่าย ได้สู้รบกันที่บริเวณ แก่งตะนะ (อยู่ในท้องที่ อำเภอโขงเจียม) กองกำลัง อ้ายเชียงแก้วแตกพ่ายไป อ้ายเชียงแก้วถูกจับได้ และถูกประหารชีวิต เมื่อกองทัพ เมืองนครราชสีมายกมาถึงเมืองจำปาศักดิ์ เหตุการณ์ก็สงบเรียบร้อยแล้ว จึงพากันยกกองทัพ ไปตีพวกข่า “ชาติกระเสงสวาง จะรายระแดร์” ซึ่งตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกแม่น้ำโขง จับพวกข่าเป็นเชลย ได้เป็นจำนวนมาก จากความ ดีความชอบในการปราบปรามกบฎอ้ายเชียงแก้วนี้เอง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช จึงได้ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ท้าวฝ่ายหน้าเป็น พระวิไชยราชขัตติยวงศา ครองนครจำปาศักดิ์ และโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ พระประทุม สุรราช เป็นพระประทุม วรราชสุริยวงศ์ ครอง เมืองอุบลราชธานี พร้อมกับยกฐานะบ้านห้วยแจระแมขึ้นเป็นเมืองอุบลราชธานี เมื่อวันจันทร์ แรม 13 ค่ำ เดือน 8 จุลศักราช 1154 (พ.ศ.2335) ดังปรากฎ ในพระสุพรรณบัตรตั้ง เจ้าประเทศราชในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ว่า “….ด้วยพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้า ผู้ผ่าน พิภพกรุงเทพ มหานครศรีอยุธยา มีพระราชโองการโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม ตั้งให้ พระประทุม เป็นพระประทุมวรราช สุริยวงศ์ ครองเมือง อุบลราชธานี ศรีวนาไลยประเทศราช เศกให้ ณ วัน 2 แรม 13 ค่ำ เดือน 8 จุลศักราช 1154 ปีจัตวาศก…”

เจ้าเมืองอุบลราชธานีในอดีต ที่พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งมีจำนวนทั้งสิ้น 4 ท่านดังนี้

1. พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (พ.ศ.2335-2338) นามเดิม ท้าวคำผง บุตรเจ้าพระตา เป็นบุคคลสำคัญ ในการสร้างบ้าน แปงเมืองอุบล โปรดให้สร้างคู ประตูเมือง หอโฮงเจ้านายต่างๆ สร้างวัดหลวง และเสนาสนะ อาทิ สิม อาฮาม หอระฆัง พระพุทธรูป สิ่งก่อสร้าง ล้วนเลียนแบบ ศิลปแบบหลวงพระบาง

2. พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (พ.ศ.2338-2388) นามเดิม พรหม น้องชายพระประทุม (คำผง) เป็นบุตรชาย คนเล็กของ เจ้าพระตา เป็นผู้ก่อสร้างวัด ป่าหลวง (วัดป่าหลวงมณีโชติ) นำไพร่พลผู้ศรัทธาสร้างพระพุทธรูป องค์ใหญ่ก่ออิฐถือปูน เป็นที่ เคารพสักการะของชาวอุบลฯ มีชื่อว่า พระเจ้าใหญ่ อินทร์แปลง ปัจจุบัน เป็นพระประธาน ในวิหารวัดมหาวนาราม

3. พระพรหมราชวงศา (พ.ศ.2388-2409) นามเดิม กุทอง สุวรรณกูฏ บุตรพระพรหม (ทิดพรหม) ในสมัยของท่าน ธรรมยุติกนิกาย แพร่หลายในเมือง อุบลฯ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้สร้างวัดสุปัฏนาราม และบรรดา อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ร่วมกัน สร้างวัดศรีทอง (ศรีอุบลรัตนาราม) วัดสุทัศน์ ซึ่งเหตุการณ์สำคัญในสมัยนี้คือการเข้าร่วมสงคราม ขับไล่ญวน
4. เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ (พ.ศ.2409-2425) เจ้าพรหมเทวา (เจ้าหน่อคำ) เป็นพี่ชายเจ้าจอมมารดา ด้วงคำใน รัชกาลที่ 4 เจ้าราชวงศ์ จำปาศักดิ์ บุตรเจ้าเสือหลานเจ้าอนุวงศ์ ในสมัยของท่านได้สร้างวัดไชยมงคล ซึ่งเป็นวัดธรรมยุตที่สี่ ในจังหวัดอุบลราชธานี สิ่งที่พึงสังเกต คือ ความขัดแย้งระหว่าง เจ้าเมืองอุปฮาด ราชวงศ์ รุนแรง เนื่องจากฝ่ายเจ้านายอุบลฯ ไม่พอใจที่ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ เจ้าหน่อคำเป็นเจ้าเมือง ในสมัยนั้นจึง เกิดการทะเลาะ วิวาทขัดแย้งกัน กลั่นแกล้งกันอยู่เสมอ ท้ายที่สุด ราวปี พ.ศ.2412 เกิดกรณี เมืองไซแง ได้เกิดความบาดหมาง ทวีความรุนแรง ต่างฝ่ายต่างเกล่าโทษ ซึ่งกัน และกัน เจ้าพรหม กล่าวหาว่า อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ขัดขวางไม่ให้เก็บเงินส่วย จากไพร่ ข้างฝ่ายอุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ก็กล่าวหาว่า เจ้าพรหม ฉ้อราษฎร์บังหลวง ทั้งสองฝ่ายจึงลงมา สู้ความกันที่กรุงเทพฯ จนพากันถึงแก่อสัญกรรม ต่างฝ่ายต่างสูญเสียทรัพย์สินส่วนตัวเป็นจำนวนมาก พ.ศ. 2418 เกิดศึกฮ่อ เจ้าพรหมเทวาถูกเกณฑ์ไปราชการทัพฮ่อ หลังศึกฮ่อได้อัญเชิญพระพุทธรูป 2 องค์ คือ พระทองทิพย์ และพระทอง ประดิษฐาน ที่วัดศรีทอง และวัดไชยมงคล

Similar Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *